โครงการวิจัยและโครงการพัฒนาระบบบริการที่ดำเนินงานอยู่ในปัจจุบัน ( ณ เดือนเมษายน 2567)
- The Project for Social Implementation of Infectious Disease Control Utilizing Genomic Information and Innovative Technology”
- การศึกษาไปข้างหน้าด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าบ้านและเชื้อวัณโรคต่อการแสดงอาการของวัณโรคและการตอบสนองต่อการรักษาวัณโรคในพื้นที่จังหวัดเชียงรายและในเขตสุขภาพที่ 7
- การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดภาวะตับอักเสบจากการใช้ยา
- โครงการจีโนมิกส์ประเทศไทย : การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมในผู้ป่วยชาวไทย 50,000 ราย
- การศึกษากลยุทธ์ในการดำเนินการค้นหา รักษาและป้องกันวัณโรคแบบใหม่ในประเทศไทย
- การส่งเสริมบทบาทสตรีในการสนับสนุนผู้ป่วยวัณโรคที่ได้ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจสังคม คลิกที่นี่..สำหรับหนังสือ และคลิกที่นี่…สำหรับบทความวิชาการ
โครงการวิจัยที่สิ้นสุดแล้ว ( ณ เดือนเมษายน 2567)
- การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) (The Development of Multi-sectoral Approaches to End TB in Municipality and Central District) รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ / ภาคผนวก
- โครงการวิจัยปฏิบัติการ ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกในการคัดกรองและส่งต่อผู้ที่เสี่ยงต่อวัณโรค คลิกที่นี่…สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานฉบับสมบูรณ์คลิกที่นี่
- การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค (2562) คลิกที่นี่…สรุปผลการดำเนินงาน และ คลิกที่นี่…สำหรับบทความวิชาการ
- การประเมินผลการเพาะเชื้อวัณโรคและทดสอบความไวต่อยารักษาวัณโรคอย่างเร็วด้วยระบบ AutoMODS (2562) รายงานฉบับสมบูรณ์คลิกที่นี่
- การประเมินประสิทธิผลการใช้ระบบ CARE-call ในการติดตามการรับประทานยา เพื่อเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาและลดอัตราการขาดยาวัณโรค (ก.ย.2559 – ก.พ.2561) คลิกที่นี่…สำหรับบทความวิชาการ หรือ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- การค้นหาการแสดงออกของยีนในเลือดที่จำเพาะต่อการติดเชื้อวัณโรคในกลุ่มประชากรไทย (ต.ค. 2555-ก.ย. 2558)
- การทดสอบการวินิจฉัยวัณโรคโดยการตรวจชิ้นส่วนสารพันธุกรรม (Transrenal DNA) ของเชื้อวัณโรคจากปัสสาวะในผู้ติดเชื้อเอชไอวี (พ.ค. 2553 – มี.ค.2559)
- โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อหารูปแบบในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคเกลือของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
- แรงจูงใจ และวิธีการที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการลดเค็มในอาหาร ของผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด: การวิจัยเชิงคุณภาพ คลิกที่นี่!!
- ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ หรือความล้มเหลวในการลดเค็ม ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการแจ้งผลและเห็นค่าเกลือในปัสสาวะของตนเอง คลิกที่นี่!!
- บทบาทของวิดิโอ ที่มีผลต่อการลดการบริโภคเกลือ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย คลิกที่นี่!!
- การประเมินการเข้าถึงการดูแลด้านเอดส์และวัณโรค ในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วม ในระยะก่อนการวินิจฉัยโรค ในจังหวัดเชียงราย (พ.ค. 2555- พ.ค. 2557) คลิกที่นี่!!
- การทดสอบทางคลีนิกเพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาวัณโรคในผู้ป่วยที่ได้รับการสนับสนุนการรักษาด้วยกล่องยามือถืออีเลคโทรนิกส์ (Mobile electronic pill box) คลิกที่นี่!!
- การตรวจหาเชื้อวัณโรคแนวใหม่ที่มีต้นทุนต่ำ ด้วยระบบการวิเคราะห์จากภาพถ่ายสำหรับพื้นที่ที่มีทรัพยากรจำกัดระหว่างปี 2554-2555
- โครงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางพันธุกรรมของผู้ป่วยและเชื้อวัณโรค คลิกที่นี่
- การสอบทวนชุดทดสอบ GenoScholar ในการพิสูจน์จำแนกเชื้อและการตรวจหาเชื้อวัณโรคดิ้อยาจากตัวอย่างเชื้อวัณโรคตและการตรวจหาเชื้อวัณโรคดื้อยาจากตัวอย่างเสมหะที่เก็บได้จากผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย (มี.ค. 2555 – มี.ค.2556)
- การลดความเค็มในอาหาร เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดและหัวใจ ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (ธ.ค.2554-มี.ค.2556)
- การศึกษาหน้าที่การทำงานของหน่วยพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อวัณโรคในประชากรไทย (2553-2556)
- MODS (Microscopic Observation Drug Susceptibility) : เทคนิกการเพาะเลี้ยงเชื้อวัณโรคและการวินิจฉัยเชื้อวัณโรคดื้อยา (2552-2554) คลิกที่นี่!!
- การศึกษาปัจจัยเสี่ยงทางภูมิคุ้มกันวิทยาและปัจจัยแวดล้อมที่สัมพันธ์กับภาวะกลับเป็นซ้ำและล้มเหลวจากการรักษาวัณโรค (2550-2555) คลิกที่นี่!!
- การเฝ้าระวังภาวะการดื้อยารักษาวัณโรคและการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ป่วยวัณโรค จังหวัดเชียงราย (2539-2555) คลิกที่นี่!!